เส้นประกบ และ การสร้างเส้นประกบ ของ เรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์

เส้นประกบ

“Cottise” หรือ “cost” (สะกดได้หลายอย่าง) เป็นขอบบางที่ตั้งอยู่สองข้างของแถบทแยงโดยนิยามแถบทแยงว่า “between two cottises/cottised” หรือ “ตั้งอยู่ระหว่างเส้นประกบ”[5]

การสร้างเส้นประกบในปัจจุบัน

ในปัจจุบันเส้นประกบมิได้ใช้แต่เฉพาะกับแถบทแยงเท่านั้นแต่ใช้กับเรขลักษณ์แทบทุกแบบ และบางครั้งก็ใช้กับเครื่องหมาย (Charge) ด้วย โดยจะตั้งเรขลักษณ์ระหว่างเรขลักษณ์แปลงรูปที่เป็นของลักษณะเดียวกับตัวเรขลักษณ์เอง แต่ในบางครั้งก็อาจจะใช้ลวดลายอื่นที่ต่างจากตัวเรขลักษณ์:

ตัวอย่างBlazon / นิยาม และ คำอธิบาย
เส้นประกบของ แถบตั้ง (Pale) เช่นในตราของโอต-มาร์นในฝรั่งเศส
เส้นประกบของ แถบขวาง (Fesses) () เช่นในตราของ Boutteville ในฝรั่งเศส
เส้นประกบของ แถบทแยง (Bend) () เช่นในตราเก่าของบลัวส์
เส้นประกบของ แถบทแยง (Bend) คนละลักษณะเช่นในตราของเมิร์ต-เอ-โมเซลล์
เส้นประกบของ แถบจั่ว (Chevrons) เช่นในตราของไมเคิล กรีนวูดแห่งแคนาดา
เส้นประกบของ แถบวาย (Palls หรือ pairles) เช่นในตราของFOO, Suan-Sehแห่งแคนาดา
เส้นประกบของ แถบกางเขน (Crosses) เช่นในตราของเพาเวลล์ในแคนาดา
เส้นประกบด้านเดียว เช่นในตราของโจเซฟ เฟรเดอริค เลเวนส์แห่งแคนาดา
เส้นประกบหยัก (Fracted ordinaries) เช่นในตราของเทศบาลแขวงไนแอกราในแคนาดา
เส้นประกบโดยไม่มีเรขลักษณ์ เช่นในตราของคูร์กูล (Courgoul) ในฝรั่งเศส
เส้นประกบด้านในเรขลักษณ์ (Cottising inwardly (or to the interior)) เช่นในตราของCommemorative Distinction Gulf of St Lawrenceแห่งแคนาดา
เส้นประกบตกแต่งด้วยสีและสิ่งประดับ (colouring an ornamenting') เช่นตราของ Ay ในฝรั่งเศส

แหล่งที่มา

WikiPedia: เรขลักษณ์ในมุทราศาสตร์ http://www.gg.ca/heraldry/pub-reg/project-pic.asp?... http://www.gg.ca/heraldry/pub-reg/project-pic.asp?... http://www.gg.ca/heraldry/pub-reg/project-pic.asp?... http://www.gg.ca/heraldry/pub-reg/project.asp?lang... http://www.gg.ca/heraldry/pub-reg/project.asp?lang... http://www.heraldry.ca/arms/f/foo.htm http://www.heraldry.ca/arms/g/greenwood.htm http://heraldry-scotland.com/copgal/displayimage.p... http://lccn.loc.gov/09023803 http://lccn.loc.gov/2001326695